05 เมษายน 2555

วันพฤหัสบดีศักดิ์สิทธิ์

วันพฤหัสบดีศักดิ์สิทธิ์




ประวัติศาสตร์จนถึง ศต.4 พระศาสนจักรในโรม  วันพฤหัสฯ เป็นวันมหาพรตสิ้นสุด  ไม่มีมิสซาคิดถึงงานเลี้ยง  แต่ตอนเช้ามีพิธีกรรมศักดิ์สิทธิ์  เรื่องให้ผู้เป็นคนบาป ร่วมกันวันพฤหัสฯเช้า  มีการโปรดบาปพิเศษ แก่คนบาปเหล่านี้
ในอัฟริกา และเยรูซาเล็ม  มีพิธีกรรมถวายมิสซาเช้าและเย็น   คิดถึงการตั้งศีลบูชาขอบพระคุณ  และคิดถึงงานเลี้ยง  มีการคิดถึงหลายอย่างเช่น วันแห่งงานเลี้ยงสุดท้าย  วันแห่งการทรยศของยูดาส ฯลฯ
ในศต.4-5  พวกแสวงบุญไปเยรูซาเล็ม  มาที่มิสซังของตนเอง เอามิสซาตอนเย็นมาแพร่ที่ยุโรป  ในพระศาสนจักรโรมด้วย   ที่สุด ศต.7  มีมิสซา ครั้ง คือ 1. มิสซาอภัยคนบาป  2. มิสซาเสกน้ำมันศักดิ์สิทธิ์  3. มิสซาเย็น คิดถึงการตั้งศีลบูชาขอบพระคุณ
ปัจจุบัน มี มิสซา คือ เช้าเรียกว่า  มิสซาเสกน้ำมันศักดิ์สิทธิ์  และมิสซาเย็น คิดถึงงานเลี้ยงของพระคริสต์



    1.      การเฉลิมฉลองพิธีการบูชาขอบพระคุณ

มิสซาเสกน้ำมันวันพฤหัสฯเช้า  เราไม่รู้ประวัติแน่นอน  แต่ปัจจุบันถือว่า มีอีกความหมายหนึ่งคือ ฉลองสังฆภาพ  พระสังฆราชประชาชนและสงฆ์ทุกองค์มาร่วมในสังฆมณฑล  ซึ่ง VAT II ให้ระลึกถึงคำสัญญาของผู้รับศีลบวชด้วย  พระเยซูเจ้าให้ศิษย์มีอำนาจประกอบมิสซา  และเรียกร้องให้คริสตชนมาร่วมด้วย  เพื่อคิดถึงหน้าที่สงฆ์ของตนเอง

        ก.      มิสซาเสกน้ำมัน
เอกสารเวียนบอก  มิสซาเสกน้ำมันศักดิ์สิทธิ์  พระสังฆราชและพระสงฆ์เสกน้ำมันคริสตมา แสดงความเป็นหนึ่งในสังฆภาพ และศาสนบริกรของพระคริสตเจ้า  เพราะฉะนั้น จำเป็นที่สงฆ์ทุกองค์ มาร่วมฉลองกันทั้ง  สังฆมณฑลในฐานะเป็นพยานและผู้ร่วมมือของพระสังฆราช   ต้องพยายามชักชวนคริสตชนมาร่วมด้วย  และตามธรรมประเพณี  เสกน้ำมันต้องมีแห่งเดียวในมิสซัง
เสนอ ให้มีพิธีกรรมต้อนรับน้ำมันศักดิ์สิทธิ์ในแต่ละวัดด้วย ที่มาถึงวัด  เพื่อคริสตชนเข้าใจความหมายด้วย(จม.เวียน 35-36)

        ข.      มิสซาระลึกถึง "อาหารค่ำของพระเยซูเจ้า"
ในมิสซาเย็น  ต้องทำมิสซาในเย็นพฤหัสฯศักดิ์สิทธิ์  เป็นการเริ่มตรีวารปัสกา  คิดถึงงานเลี้ยงครั้งสุดท้าย การถูกทรยศ  เป็นเวลาที่พระเยซูรักศิษย์  มอบพระกายให้ศิษย์ทำต่อ   ผู้สืบตำแหน่งสังฆภาพของพระองค์(45)คิดถึง อย่างคือ            
          1. การตั้งศีลบูชาขอบพระคุณ       
          2.การตั้งศีลบวช             3. และให้ศิษย์รักกันและกัน เหมือนพระเยซูเจ้ารักเรา
      หลังปฏิรูป  มีการเปลี่ยนแปลงคือ  บทอ่าน
บทอ่าน จาก  อพย. 12:1-8, 11-14    การข้ามทะเลแดงของชาวฮีบรู
บทอ่าน 2  1 คร. 11:23-26  และบทอ่านที่ 3  จากพระวรสาร น.ยอห์น 13:1-15   ตอนล้างเท้า

      บทเริ่มขอบพระคุณ  แต่ก่อนพูดถึงไม้กางเขน  แต่เปลี่ยนเป็นการพูดถึง สังฆภาพ ของผู้เป็นสงฆ์
น·เสนอ ควรมีมิสซาเย็น  คริสตชนควรมาร่วมและสงฆ์ทุกคน ควรมาในวันนั้นตามธรรมประเพณีเก่าแก่ของพระศาสนจักร  ห้ามทำมิสซาส่วนตัว
ก่อนเริ่มมิสซา  ไม่มีอะไรในตู้ศีลฯ   ต้องเปิดตู้ศีลฯ  ศีลฯในมิสซาต้องให้เสก เท่า  สำหรับวันนี้และวันศุกร์ ในภาคสิริฯ  มีระฆัง  หลังจากนั้นไม่มีอีกจนกระทั่งพิธีตื่นเฝ้าในคืนวันเสาร์
สงฆ์ ควรถวายมิสซาอย่างดีที่สุด  โดยเฉพาะเมื่อถึงตอนเล่าเรื่อง  พิธีบูชาขอบพระคุณ (ควรสวดอย่างดี ให้สัตบุรุาฟังด้วย)  ต้องให้ทุกคนตระหนักถึงสิ่งที่กำลังนึกถึง  ไม่ต้องรีบ

 * ข้อเสนอแนะ  เมื่อแห่ถวายเครื่องบูชา  เป็นช่วงดีสำหรับให้สิ่งที่เราเก็บไว้ช่วยคนจน   คนป่วยในบ้านควรมีสังฆานุกรแจกศีลฯ  เก็บศีลฯ ในที่เหมาะสม  สำหรับคนป่วยด้วย


    2.      พิธีล้างเท้า

มีในศต. 5 ในโรม และค่อยกระจายไป  ผู้ที่ทำตลอดคือพวกฤษี  อธิการจะล้างเท้า  มันแสดงสิ่งที่พระเยซูเจ้าได้สอน  ทำได้ระหว่างอ่านบทอ่านหรือเทศน์  เป็นการแสดงความรักและการรับใช้ ของพระเยซูเจ้า  ซึ่งจำเป็นต้องอธิบายให้คริสตชนเข้าใจ


    3.      สถานที่พักศีลฯ

คือวันศุกร์ไม่มีมิสซา  จึงจำเป็นต้องรักษาศีลฯนั้นไว้  เมื่อมีการเก็บศีลฯ  จึงมีพิธีเก็บไว้ในที่พิเศษ  ในสมัยกลาง มีความคิดว่า เป็นพระเยซูเจ้าอยู่ในศีลฯ    มีการเดินแห่ให้เกียรติศีลฯ  ถวายกำยานและเก็บไว้ในตู้ศีลฯ ที่เตรียมแล้ว  ทุกอย่างจบ จะไม่มีสวด เพลง  พอเก็บศีลฯในตู้ศีลฯแล้ว  คริสตชนกไปเฝ้าตู้ศีลได้  จนถึงเที่ยงคืน  จึงเอาไปไว้ในที่ต่างหาก  ในตู้ศีลฯปิด ไม่ต้องแสดง  ช่วงเฝ้าศีลฯ  อาจมีอ่านบทพระวรสารยอห์นบทที่ 13-17 แต่ถ้าเที่ยงคืนไป ก็เป็นพิธีส่วนตัว

จารีตการเอาผ้าและทุกอย่างบนแท่นออกหมด(57) คลุมกางเขนด้วยผ้าแดงหรือม่วง  ห้ามจุดเทียนทุกอย่างในวัด  ให้รูปนักบุญ

ผู้กลับใจ